HTML
บทที่ 3 การจัดรูปแบบเอกสาร
นหมวดนี้จะเป็นพื้นฐานการใช้งาน HTML เช่นการสร้างตาราง , การใส่รูปในเว็บเพจ , การสร้างลิงค์ โดยจะมีตัวอย่างให้ทดลองพิมพ์แบบง่ายๆ
<html>
<head>
<title> หัวข้อเรื่อง ของหน้านี้ </title>
</head>
<body>
เนื้อหาที่จะแสดงใน web browser
</body>
</html>
บทนำ HTML
โครงสร้างคำสั่งของ HTML
คำสั่งในการจัดหน้า
HTML
ต้นกำเนิดของภาษา HTML เกิดจาก เมื่อปี 1989 นักฟิสิกส์ชื่อ Tim Berners-Lee แห่งสถาบันวิจัย CERN เสนองานวิจัยเรื่อง prototyped ENQUIRE และ Hypertext system ใช้สำหรับนักวิจัยของสถาบันเพื่อแบ่งข้อมูลกัน และถูกพัฒนามาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน
HTML เป็นตัวย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาหลักที่ใช้ในการแสดงผลบนเว็บ บราวเซอร์ในอินเตอร์ โดยสามารถนำเสนอข้อมูลตัวอักษร รวมทั้งเชื่อมต่อเพื่อ แสดงภาพ , เสียง และไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ
ภาษา HTML จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนของคำสั่ง (tag) เป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบของข้อความที่แสดง ซึ่งเราเรียกว่า Tag โดยจะอยู่ใน
เครื่องหมาย < ... >
2. ส่วนของบทความทั่วๆไป เป็นส่วนของข้อความที่เราต้องการแสดงผล
ตัวอย่างการใช้งานภาษา HTML
HTML
การใช้งาน
ในบทที่แล้วเราได้ลองเขียน HTML กันดูบ้างแล้ว ในบทนี้เราจะลงรายละเอียดคำสั่งของ HTML โดยการใช้งานหลักจะมีดังนี้
1. คำสั่ง หรือ Tag
Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือการลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket ( < ) และ greater-than bracket ( > ) โดยที่ Tag HTML แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
Tag เดี่ยว เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <HR>, <BR> เป็นต้น
Tag เปิด/ปิด รูปแบบของ tag นี้จะเป็นแบบ <tag> .... </tag> โดยที่
<tag> เราเรียกว่า tag เปิด
</tag> เราเรียกว่า tag ปิด
2. Attributes
Attributes เป็นตัวบอกรายละเอียดของ tag นั้นเช่น <span align = 'left'> ... </span> เป็นการบอกว่าให้อักษรที่อยู่ใน tag นี้ชิดซ้าย
3. not case sensitive
หมายถึง จะพิมพ์ <BR> หรือ <br> ก็ได้ ผลลัพธ์ออกมาไม่ต่างกัน
HTML
ในบทความนี้จะเป็นเนื้อหาของคำสั่งที่ใช้ในส่วนของ body section ทั้งหมดโดยจะเป็นคำสั่งในส่วนของการจัดหน้า
ซึ่งการเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือการลองพิมพ์ดู ดังนั้น Hellomyweb.com จึงได้ทำ text editor และหน้าจอแสดงผลไว้ด้วยกันให้คุณลองพิมพ์ลองแก้ไขกันดู โดยคลิกที่ลิงก์ที่หัวข้อได้เลย
ลองพิมพ์ดูง่ายนิดเดียว คลิกที่หัวข้อเพื่อทดลองพิมพ์
1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดย่อหน้า
คำสั่ง P นี้จะเพิ่มบรรทัดว่างก่อนและหลังตัวอักษรที่เราพิมพ์ไปโดยอัตโนมัติ ตามที่แสดงในตัวอย่าง
รูปแบบ p tag
2.คำสั่งที่ใช้ในการขึ้นบรรทัดใหม่
การตัดบรรทัดใหม่นั้นปรกติ web browser จะทำการตัดให้อยู่แล้ว แต่การตัดคำของ web browser จะตัดเมื่อแสดงผลไม่ได้ แต่ถ้าเราใส่คำสั้ง <br> เข้าไป web browser จะตัดให้ทันที ซึ่งคุณอาจจำเป็นที่จะต้องตัดคำเป็นบรรทัดสั้นๆเช่น การเขียนกลอนดังตัวอย่าง
รูปแบบ br tag
3.คำสั่งที่ใช้กับข้อความที่เป็นหัวเรื่อง
คำสั่ง h จะมีทั้งหมด 6 ลำดับด้วยกัน ไล่ตั้งแต่ h1,h2,h3,h4,h5,h6 ซึ่งขนาดของ h1 จะใหญ่ที่สุดดังตัวอย่างที่แสดง โดยเราจะใช้กับตัวอักษรที่ต้องการให้เป็นหัวเรื่องเพื่อให้อักษรนั้นโดดเด่นขึ้นมา จะสังเกตุได้ว่าเมื่อใช้ h tag จะตัดตัวอักษรที่ต่อจาก h tag เป็นบรรทัดใหม่อัตโนมัติ
รูปแบบ h tag
4. คำสั่งที่ใช้ในการขึดเส้นคั่น
คำสั่งที่ใช้ในการขีดเส้นคั่น
รูปแบบ hr เป็นต้น
รูปแบบคำสังจัดหน้า
<p> ย่อหน้าที่ 1 </p>
<p> ย่อหน้าที่ 2 </p>
<p> ย่อหน้าที่ 3 </p>
บรรทัดที่ 1 <br>
บรรทัดที่ 2 <br>
บรรทัดที่ 3 <br>
<h1>head 1</h1>
<h2>head 2</h2>
<h3>head 3</h3>
<h4>head 4</h4>
<h5>head 5</h5>
<h6>head 6</h6>
<body bgcolor ='green'>
<h1> ดูสีพื้นหลัง </h1>
</body>
<h3 align = 'left'>ชิดซ้าย</h3>
<h3 align = 'right'>ชิดขวา</h3>
<h3 align = 'center'>จัดเข้ากลาง</h3>
<body bgcolor ='green'>
<h1> ดูสีพื้นหลัง </h1>
</body>
ในการเขียนคำสั่งภาษา HTML สามารถเขียน ด้วยตัวอักษร เล็กหรือใหญ่ ทั้งหมดหรือเขียนคละกันได้ เช่น <HTML> หรือ <Html> หรือ <html> ซึ่งจะให้ผลเหมือนกัน
คำสั่งเริ่มต้นของเอกสาร HTML
<HTML>……….</HTML>
คำสั่ง <HTML> เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมและคำสั่ง </HTML> เป็นการสิ้นสุดโปรแกรม HTML คำสั่งนี้จะไม่แสดงผลในโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ แต่ต้องเขียนเพื่อให้เกิดความเป็นระบบของงาน และเพื่อจะให้รู้ว่าเอกสารนี้เป็นเอกสารของภาษา HTML ส่วนหัวเรื่องเอกสารเว็บ (Head Section)
<HEAD>……….</HEAD>
Head Section เป็นส่วนที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลเฉพาะของหน้าเว็บนั้น ๆ เช่น ชื่อเรื่องของหน้าเว็บ (Title), ชื่อผู้จัดทำเว็บ(Author), คีย์เวิร์ดสำหรับการค้นหา (Keyword) โดยมี Tag สำคัญ คือ
<TITLE>……….</TITLE >
ข้อความที่ใช้เป็น TITLE ไม่ควรพิมพ์เกิน 64 ตัวอักษร, ไม่ต้องใส่ลักษณะ
คำสั่งที่ใช้ในการจัดตัวอักษรชิดซ้าย ชิดขวา หรือกึ่งกลาง
การจัดให้ตัวอักษรให้ชิดซ้าย ขวา หรือกึ่งกลาง เราจะใช้ Attributes ให้รายละเอียดของ tag โดยเราจะใช้ aling เพื่อบอกว่าให้ชิดซ้าย (align = 'left') ชิดขวา (align = 'right') และ จัดกึ่งกลาง (align = 'center')
รูปแบบ align
<h3 align = 'left'>ชิดซ้าย</h3>
<h3 align = 'right'>ชิดขวา</h3>
<h3 align = 'center'>จัดเข้ากลาง</h3>
คำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนสีพื้นหลัง
bgcolor เป็น Attributes อย่างหนึงเหมือนกันที่ใช้กำหนดสี คุณอาจเปลี่ยนจาก สีเขียว(green) เป็น เหลือง(yellow) หรือสีอื่นๆก็ได้
รูปแบบ bgcolor
<body bgcolor ='green'>
<h1> ดูสีพื้นหลัง </h1>
</body>
การเขียนคำบรรยาย soure code
ในส่วนของคำบรรยาย soure code นั้นจะไม่แสดงที่ web browser เราเขียนเพื่อบรรยายว่า sorce code ส่วนนี้ใช้ทำอะไร เพื่อความสะดวกเมื่อกลับมาแก้ไข sorce code ในภายหลังเพราะเราอาจจำไม่ได้ว่าเราเขียนส่วนนี้ไว้เพื่ออะไร เพราะว่าจริงๆแล้ว soure code ที่เราใช้งานจริงนั้นจะมีมากมายหลายร้อยบรรทัด ถ้าเราไม่เขียนบรรยายไว้ก็ทำให้เสียเวลาในการหาส่วนที่เราต้องการจะแก้ไข
รูปแบบการเขียนคำบรรยาย source code
คำสั่งในการกำหนดลักษณะตัวอักษร และแสดงสัญลักษณ์ต่างๆด้วยภาษาHTML
ตัวเอียง ตัวหนา หรือแบบอักษรแบบต่างนั้นมีเพื่อให้เราอ่านบทความได้ง่ายขึ้น หรือเป็นการเน้นคำ
1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดลักษณะตัวอักษร
ในหัวข้อนี้จะเป็นคำสั่งที่ใช้ในการจัดรูปแบบทั่วไปเช่นตัวเอียง ตัวหนา
คำสั่งเราจะแบ่งได้เป็น 2 พวกดังนี้
<!-- คำบรรยาย source code --!>
1.แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏ เช่นตัวเอียง ตัวหนา
ตัวอักษรแบบตัวหนา (bold)
ตัวอักษรแบบตัวเอน (italic)
ตัวอักษรแบบตัวขีดฆ่า (strike)
ตัวอักษรแบบตัวห้อย (subscripted)
ตัวอักษรแบบตัวยก (superscripted)
ตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้ (underline)
2.แบ่งตามการใช้งาน เช่น ใช้กับคำพูดหรือวลี ใช้กับข้อความที่สำคัญมาก
ใช้เน้นข้อความ คำพูดหรือวลี (emphasized)
ใช้เน้นข้อความที่สำคัญมากๆ (strong)
ใช้เน้นข้อความที่แก้ไขเพิ่มเติม (inserted)
ใช้บอกว่าข้อความนี้ถูกลบไปแล้ว (deleted)
ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นโปรแกรม (computer code)
ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นที่อยู่ (computer code)
ซึ่งจริงแล้วนั้น ผลลัพธ์ออกมาก็เหมือนกัน เช่น B ให้ผลลัพธ์เหมือนกับ Strong เราจะเลือกใช้แบบใดก็ได้ แต่เราแยกเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากกว่า
คำสั่งที่ทำให้รูปแบบตัวอักษรใน soure code เหมือนกับที่แสดงผล
Pre tag จะมีประโยชน์มากในการที่เราจะแสดงบทความที่มีเนื้อหามาก หรือ คัดลอกเนื้อหาจากที่อื่นมาทำให้เราไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยคำสั่ง br และใช้ในการแสดง source code ได้ดีอีกด้วย
<pre> ..... </pre>
คำสั่งแสดงสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ
สัญลักษณ์พิเศษบางตัวเช่น เครื่องหมายมากว่า (>) หรือ เครื่องหมายน้อยกว่า (<) ซึ่งเครื่องหมายเหล่านี้ใช้ในภาษา HTML ด้วยทำให้ตัวอักษรที่อยู่ในเครื่องหมายเหล่านี้กลายเป็น Tag หมด หรือเครื่องหมายที่ไม่มีบนคีบอร์ด แต่ถ้าเราต้องการแสดงเครื่องหมายเหล่านี้เราต้องใช้ Entity Name แทน ตามแบบด้านล่าง
รูปแบบของ hyperlink ภายใน directory เดียวกัน
<a href='ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a>
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่สูงกว่า
<a href='ชื่อ directory ที่เก็บไฟล์ไว้/ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a>
รูปแบบของ hyperlink จาก directory ที่ต่ำกว่า 1 ขั้น
<a href='../ชื่อไฟล์ที่ต้องการลิงค์'> ตัวอักษรที่จะใช้แสดง </a>
ฟอร์ตแมตของไฟต์ที่เราจะเห็นกันบ่อยๆ
1.JPEG เหมาะสำหรับภาพถ่าย หรือภาพที่มีความละเอียดและจำนวนสีมากๆ
2.GIF เหมาะสำหรับภาพลายเส้น เช่นการ์ตูน ตัวหนังสือ หรือภาพที่ต้องการสร้างให้ภาพโปร่งใส หรือ ทำให้เคลื่อนไหวได้
3.PNG เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการให้โปร่งแสง ขนาดไฟล์จะใหญ่กว่า JPEG แต่คุณภาพจะดีกว่า JPEG
สำหรับการเปลี่ยนฟอร์ตแมตของภาพเราจะใช้โปรแกรมเช่น Photoshop ในการเปลี่ยนซึ่งเรื่องนี้เราจะไปศึกษากันที่หัวข้อ Photoshop กันต่อไป ซึ่งฟอร์ตแมตของภาพจะมีผลมากต่อการทำเว็บไซต์ของเรา
ใส่รูปจาก directory ที่ต่างกัน
จะเห็นว่าการใส่รูปจาก directory ที่ต่างกันใช้หลักการเดียวกับการเขียน hyperlink นั่นเอง ซึ่งหากไม่เข้าใจสามารถกลับไปดูได้ที่หัวข้อ เชื่อมต่อเอกสารของเราด้วย hyperlink
ตัวอย่าง
รูปจาก folder อื่น
<br>
<img src="/images/logo.jpg">
<br>
<br>
เราสามารถกำหนดรูปแบบโดยให้อ้างอิงจากชื่อ domain name ก็ได้
<br>
<img src="http://www.hellomyweb.com/images/logo.jpg">
3.The Alt Attribute
รูปแบบ <img src="boat.gif" title="Big Boat">
เราใช้ alt Attribute เพื่อแสดงผลในกรณีที่ไม่สามารถโหลดรูปได้ และแสดงผลเมื่อมีเมาส์ไปอยู่ด้านบน นอกจากนั้นยังไม่ผลต่อการค้นหาของ google อีกด้วย
4.การใส่รูปพื้นหลัง
รูปพื้นหลังจะถูกแสดงผลซ้ำกันเองโดยเราแม้ว่ารูปจะรูปจะมีขนาดเล็ก หรือสั้นเพียงใดก็ตาม
ตัวอย่างคำสั่ง
<body background="bg.jpg">
5.การจัดตำแหน่งของรูปในตัวอักษร
จะเป็นการจัดตำแหน่งของรูปในตัวอักษร เมื่อเรามีตัวอักษรกับภาพอยู่ด้วยกัน เราจะใช้ Align Attribute เพื่อจัดตำแหน่งของภาพ
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src="images/cone.png" align="bottom">
ในข้อความ
</p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png" align="top">
ในข้อความ
</p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png" align="middle">
ในข้อความ
</p>
<p><b>ในส่วนจะแสดงผลในกรณีที่ไม่มีการใช้ align attribute</b></p>
<p>
การจัดรูปภาพ
<img src ="images/cone.png">
ในข้อความ
</p>
<p>
<img src ="images/cone.png">
แสดงรูปภาพก่อนข้อความ
</p>
<p>
แสดงรุปภาพหลังข้อความ
<img src ="images/cone.png">
</p>