top of page

การขึ้นบรทัดใหม่  (Line Break) ด้วยแท็ก <br>//

โดยปกติเอกสาร  HTMLจะถูกพิมพ์ต่อเนื่องไปจนถึงสุดบรรทัดของหน้าต่างเว็บเบราว์เซอร์  แล้วจึงขึ้นบรรทัดใหม่ถึงแม้ในเอดิเตอร์  (Notepad) จะมีการจัดรูปแบบงานพิมพ์เอกสารด้วยการกด Enter
เพื่อขึ้นบรรทัดใหม่ก็ตามตัวโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์จะยังคงถือว่าเป็นข้อความที่ต่อเนื่องและจะทำการเว้นวรรค
ให้ 1ช่อง โดยแสดงข้อความที่ต่อเนื่องไปจนสุดหน้างต่างและจึงจะขึ้นบรรทัดใหม่ให ้แต่ถ้าหากเราต้องการให้้
เว็บเบราว์เซอร์ตัดข้อความให้ขึ้นบรรทัดใหม่  ณ.  ตำแหน่งที่กำหนดให้ใช้แท็กดังนี้

รูปแบบ       ข้อความ..................................<br>

ก่อนที่จะทำความเข้าใจก่อนที่จะแท็ก <br>  ในที่นี้ขอให้สังเกตตัวอยางของการพิมพ์งานเอกสาร HTML ปกติดังนี้

<!DOCTYPE html>
<html>
<head>
<title> Line break Tag </title>
<body>

        The code within an HTML file consists of text surrounded by tags.
these tags indicate where the formatting should be applied, how the
layout should appear, what pictures should be placed in certain
locations, and more.
       For example, suppose you wanted a certain word to be italicized,
like this:
       Everything in on sale.

</body>
</html>

ผลที่ได้
linebreak.jpg

 คำสั่งในการกำหนดลักษณะตัวอักษร และแสดงสัญลักษณ์ต่างๆ

HTML
  ตัวเอียง ตัวหนา หรือแบบอักษรแบบต่างนั้นมีเพื่อให้เราอ่านบทความได้ง่ายขึ้น หรือเป็นการเน้นคำ ซึ่งในบทนี้เราจะมาดูกันว่ามีคำสั่งอะไรบ้าง

ลองพิมพ์ดูง่ายนิดเดียว คลิกที่หัวข้อเพื่อทดลองพิมพ์

1.คำสั่งที่ใช้ในการจัดลักษณะตัวอักษร
  ในหัวข้อนี้จะเป็นคำสั่งที่ใช้ในการจัดรูปแบบทั่วไปเช่นตัวเอียง ตัวหนา

    คำสั่งเราจะแบ่งได้เป็น 2 พวกดังนี้

    1.แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏ เช่นตัวเอียง ตัวหนา

           <B>          ตัวอักษรแบบตัวหนา (bold) 
          <I>            ตัวอักษรแบบตัวเอน (italic)
         <S>           ตัวอักษรแบบตัวขีดฆ่า (strike) 
         <Sub>      ตัวอักษรแบบตัวห้อย (subscripted) 
         <Sup>      ตัวอักษรแบบตัวยก (superscripted)
         <U>          ตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้ (underline)   
 
   2.แบ่งตามการใช้งาน เช่น ใช้กับคำพูดหรือวลี ใช้กับข้อความที่สำคัญมาก

          <Em>            ใช้เน้นข้อความ คำพูดหรือวลี (emphasized) 
        <Stong>         ใช้เน้นข้อความที่สำคัญมากๆ (strong) 
        <Ins>              ใช้เน้นข้อความที่แก้ไขเพิ่มเติม (inserted) 
        <Del>              ใช้บอกว่าข้อความนี้ถูกลบไปแล้ว (deleted) 
        <Code>          ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นโปรแกรม (computer code)
        <Address>     ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นที่อยู่ (computer code) 

 
        ซึ่งจริงแล้วนั้น ผลลัพธ์ออกมาก็เหมือนกัน เช่น B ให้ผลลัพธ์เหมือนกับ Strong เราจะเลือกใช้แบบใดก็ได้ แต่เราแยกเพื่อความสะดวกในการใช้งานมากกว่า

 2.คำสั่งที่ทำให้รูปแบบตัวอักษรใน soure code เหมือนกับที่แสดงผล
  Pre tag จะมีประโยชน์มากในการที่เราจะแสดงบทความที่มีเนื้อหามาก หรือ คัดลอกเนื้อหาจากที่อื่นมาทำให้เราไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยคำสั่ง br และใช้ในการแสดง source code ได้ดีอีกด้วย

dbf0d90bd86265ae9fdc2ecf1b0f6125.gif

ที่มาของข้อมูล : https://www.m-culture.go.th/it/ewt_news.php?nid=69&filename=index

bottom of page